|
 |
|
|
|
|
|
หน้าแรก > บุคลากร > บุคลากรสายวิชาการ >
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร |
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร |
|
|
|
|

|
|
ห้องพัก : |
304/9 |
โทรศัพท์ : |
(662) 8002308-14 ext.3316 |
Email : |
siripen.ung@mahidol.edu |
Website : |
|
|
|
|
การศึกษา |
|
• Bachelor of Nursing Science (Nursing Science) Mahidol University, Thailand |
|
• Master of Arts (M.A.) (Linguistics) Mahidol University, Thailand |
|
• Doctor of Phylosophy (Ph.D.) (Linguistics) Mahidol University, Thailand |
|
งานวิจัยที่สนใจ : |
|
1. |
ภาษาศาสตร์ภาษาจีน |
2. |
ภาษาจีนถิ่น |
3. |
การรู้หนังสือขอชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่มชาติพันธุ์ |
4. |
กลสัทศาสตร์ |
5. |
การใช้ภาษาแม่เป็นฐานการเรียนรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรม |
|
|
งานวิจัย (14) |
|
2562 :
|
คลังข้อมูลดิจิทัลของกลุ่มชาติพันธุ์: ส่งเสริม การปกป้อง และดำรงรักษาความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศไทย (The ethnic group digital archive project: Promoting the protection and preservation of language and culture diversity in Thailand) แหล่งทุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภายใต้ความร่วมมือโครงการ Newton Fund Institutional Links_[หัวหน้าโครงการ] |
|
|
2561 :
|
โครงการศูนย์วิจัยวัตกรรมชุมชน เพื่อการฟื้นฟูภาษาและพัฒนาประเทศ แหล่งทุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)_[ผู้ร่วมวิจัย] |
|
|
2561 :
|
โครงการการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ (ตามแนวชายแดน) แหล่งทุน: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา_[ผู้ร่วมวิจัย] |
|
|
2560 :
|
โครงการกระบวนการถ่ายทอดความรู้ภาษา-วัฒนธรรมฮากกา จากปราชญ์ฮากกาสู่เยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาอย่างยั่งยืน แหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดินปี 2560_[หัวหน้าโครงการ] |
|
|
2560 :
|
การบันทึกความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์ของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในรูปแบบดิจิทัล : โดยการทำงานร่วมกันของนักภาษาศาสตร์ และคนในชุมชน (Digital documentation of the botanical knowledge of Northern Khmer speakers: community member, botanists and linguists working together) แหล่งทุน: ได้รับทุน Newton Fund ผ่านสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)_[หัวหน้าโครงการ] |
|
|
2560 :
|
แผนงานโครงการการขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ แหล่งทุน: คอบช._[ผู้ร่วมวิจัย] |
|
|
2560 :
|
Consultant for Research and Implementation Partnership: baseline study of migrant early childhood development แหล่งทุน: Save the Children International 14 ก.ย. 60-31 ธ.ค. 60 |
|
|
2559 :
|
โครงการจ้างที่ปรึกษาจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาชาวิชาชีพงานภาษาต่างประเทศและล่ามแปล สาขาผู้สอนภาษาต่างประเทศอาชีพผู้สอนภาษาจีน แหล่งทุน: สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)_[บริการรับทำวิจัย] |
|
|
2559 :
|
The Hakka Digital Archive Project: Preserving Cultural Treasures and Promoting Cultural Rights in Thailand แหล่งทุน: Grant by the British Council
Newton Fund: Researcher Links Travel Grant 2015/16_[หัวหน้าโครงการ] |
|
|
2552 :
|
ลักษณะความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาท้องถิ่น (กูยและเขมรถิ่นไทย) |
|
|
2550 :
|
ประสบการณ์การฟื้นฟูภาษาในประเทศไทย : กรณีภาษาชอง จังหวัดจันทบุรี |
|
|
2550 :
|
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ: กรณีการจัดการศึกษาแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ) โครงการต่อเนื่อง 9 ปี (2550 - 2558) แหล่งทุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล_[ผู้ร่วมวิจัย] |
|
|
---- :
|
โครงการไวยากรณ์ภาษาจีนแคะสำเนียงที่พูดในกรุงเทพฯ |
|
|
-- :
|
การฟื้นฟูของกินพื้นบ้านเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารและสืบสานวัฒนธรรมในกลุ่มชาติพันธุ์ |
|
|
|
|
ผลงานตีพิมพ์
(17) |
|
• |
ประทีป ว่องวีระยุทธ์, อดิเรก นวลศรี, ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, Hai Yang และ เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล. (2563). การศึกษาแนวคิดมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาผู้สอนวิชาภาษาจีน. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 12(1), 304-314. |
|
|
• |
สุมนทิพย์ วัฒนา, ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร และ มยุรี ถาวรพัฒน์. (2563). แนวการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ: การสอนแบบ แม่สอนลูก. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20(2), 206-233. |
|
|
• |
กุมารี ลาภอาภรณ์ , และ ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร. (2560). การฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น: กรณีศึกษาคนสี่กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดสกลนคร. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 35 (2), 1-26. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, กุมารี ลาภอาภรณ์. (2559). กระบวนการจัดการความรู้ผ่านการถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนฮากกาออนไลน์: ความสำเร็จและความท้าทาย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, ปีที่ 35 ฉ, 203-225. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร . (2557). “การฟื้นฟูอาหารพื้นบ้านจีนแคะ (ฮากกา) ห้วยกระบอก : สิ่งท้าทายใน
ภาวการณ์ที่สวนกระแส”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, ปีที่34 (3, 43-64. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร . (2556). “ความหมายและอัตลักษณ์ของจีนฮากกา” . วารสารมหาวิทยาลัย ศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, ปีที่ 33 (, 215-240. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn, Kanyapak Art-han. (2555). Using mother tongue as a
medium of instruction in Thailand: How does it affect Yunnanese children’s behavior?. Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences). , Vol. 4 No., 119-128. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn . (2554). The Tone System of Hakka as spoken in Thailand. Journal of Chinese Linguistics, vol.39 No., 32-75. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn . (2554). Development of Northern Khmer Primer using Thai
Alphabet: Opportunities and Challenges. Mon-Khmer studies paper from ICAAL4, No.3, 134-151. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn . (2554). A Tentative Bilingual Education Program for Yunnanese Chinese Kindergarten Level at Ban Mai Neong Bus School, Chiang Mai Province: Its Pros and Cons. International Journal of Current Chinese Studies, No.2, 79-92. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn, -. (2552). The Bangkok Hakka Phonology. Mon-Khmer Studies , vol.38, 185-208. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn, -. (2552). Language Revitalization Awareness in the Hakka Group in Thailand. , , . |
|
|
• |
Ungsitipoonporn, S., Buachut, W., Vera, F., & Mandana, S. (2021). Community Archiving of Ethnic Groups in Thailand. Language Documentation & Conservation, 15, 267-284. |
|
|
• |
Ungsitipoonporn, S . (2020). Transmission of Hakka traditional knowledge from two revitalization projects in Thailand: What did they achieve?. Dialectologia, 24, 253-272. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn . (2014). “Affixation and Compounding in Hakka”. Dialectologia , 13 (2014), 87-105. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn . (2013). “The Virtual Hakka community: A new domain of
Revitalization”
. ๋Jati, vol.18 Dec, 145-159. |
|
|
• |
Siripen Ungsitipoonporn . (2013). “Construction and Function of particle 呀 in Hakka”. The International Journal of East Asian Studies (IJEAS), Vol.18 No., 49-62. |
|
|
|
|
การนำเสนอ
(9) |
|
2552 : |
Language Revitalization Awareness in the Hakka group in Thailand |
|
|
2552 : |
Development of Northern Khmer Primer using Thai alphabet: Opportunities and Challenges |
|
|
2012 : |
Affixation and compounding in Hakka |
|
|
2012 : |
Constructions and functions of grammatical particle ʔa4呀in Hakka |
|
|
2011 : |
The Virtual Hakka Community: A new domain of revitalization |
|
|
2011 : |
The Virtual Hakka Community: A new domain of revitalization |
|
|
2010 : |
Differences in the colloquial and literary pronunciations of the Bangkok Hakka |
|
|
2010 : |
Using mother tongue as a medium of instruction-How does it affect Yunnanese children’s behavior? |
|
|
2010 : |
A Proposal for an Experimental Program in Bilingual Education in the Yunnanese Chinese Community of Chiang Mai Province |
|
|
|
|
ผลงานอื่นๆ (7) |
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, ธีรธัช รุ่งเรืองวงษ์, กมลทรรศน์ ดอกเมฆ, ชัยวัฒน์ หอมชง, และ ภีมระพัฒต์ รองสวัสดิ์.
(2563).
คู่มือการบันทึกความรู้ท้องถิ่น: การใช้เทคโนโลยีภาคสนามทางภาษาและวัฒนธรรม. ในศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, ธีรธัช รุ่งเรืองวงษ์, กมลทรรศน์ ดอกเมฆ, ชัยวัฒน์ หอมชง, และ ภีมระพัฒต์ รองสวัสดิ์ .
(2563).
เรียนภาษาเขมรถิ่นไทยแบบบูรณาการ 1. ในศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, ธีรธัช รุ่งเรืองวงษ์, กมลทรรศน์ ดอกเมฆ, ชัยวัฒน์ หอมชง, และ ภีมระพัฒต์ รองสวัสดิ์.
(2563).
เรียนภาษาเขมรถิ่นไทยแบบบูรณาการ 2. ในศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, สุมนทิพย์ วัฒนา, ธีรธัช รุ่งเรืองวงษ์, กมลทรรศน์ ดอกเมฆ, ชัยวัฒน์ หอมชง, และ ภีมระพัฒต์สวัสดิ์.
(2563).
พืชเขมรถิ่นไทย เล่ม 1. ในศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด. |
|
|
• |
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, กุมารี ลาภอาภรณ์, บัวฉัฐ วัดแย้ม, และ ณัฐมน โรจนกุล.
(2563).
การจัดทำคลังข้อมูลดิจิทัลด้านภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย. ในศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร และกุมารี ลาภอาภรณ์ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด. |
|
|
• |
Ungsitipoonporn, S .
(2018).
The Impact of the Nyah Kur Language Revitalization. Suwilai Premsrirat and David Hirsh (eds), Language Revitalization: Insights from Thailand (pp.81-104). Germany :Peter Lang. [Linguistic Insights Studies in Language and Communication: li 246]. |
|
|
• |
Suwilai Premsrirat, Siripen Ungsitipoonporn and Isara Choosri.
(2009).
Chong-Thai- English Dictionary
. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|