ศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิงสุริยา รัตนกุล

ตำแหน่งวิชาการ :

ศาสตราจารย์

อีเมล :

ติดต่อ :

วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท์ : 0-2800-2630 ต่อ 309, 0-2800-2657 โทรสาร : 0-2800-2659

Website :

ประวัติการศึกษา

  • อักษรศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัย Paris (Doctorat de l’Universit? ประเทศฝรั่งเศส de Paris โดยได้รับพระราชทาน
    ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล)

ตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ

  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภาวิทยาลัยแสงธรรม
  • กรรมการบัญญัติศัพท์ภาษาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน

สมาคมวิชาการและวิชาชีพที่เป็นสมาชิก

  • ชมรมมูลนิธิอานันทมหิดล

งานสอนนักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยศาสนศึกษา

  • CRRS 104 Western Civilization
  • CRRS 105 Eastern Civilization
  • CRRS 220 Religious Rituals
  • English for CRRS Students (พระภิกษุ)
  • CRRS 253 Religion and the Individual
  • CRRS 415 Buddhist Psychology
  • CRRS 416 Buddhism in Visual Art

งานวิจัยและบทความทางวิชาการ

  • สุริยา รัตนกุล, 2515 พจนานุกรมไทย-ม้ง(แม้วขาว), โรงพิมพ์เกษมสัมพันธ์, 195 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล, 2515 “ฃ ฅ หายไปไหน” วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 2 เล่มที่ 1 หน้า 29-60
  • สุริยา รัตนกุล, 2517 “คำเชิงอ้างอิง : สุภาษิต คำพังเพย คำคม และวลีสำเร็จรูป” วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 4 เล่มที่ 1 หน้า 122-141
  • สุริยา รัตนกุล, พ.ศ. 2517 “ปัญหาการเรียนภาษาไทยของเด็กเริ่มเรียน ที่พูดภาษาขมุ-ละว้า-ถิ่น”,โรเนียว 8 หน้า เป็นบทความแสดงที่คุรุสัมมนา เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ ในคราวที่กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการเชิญไปร่วมประชุมปฏิบัติการเพื่อสร้างแบบเรียนภาษาไทยเบื้องต้น ให้แก่เด็กชาวเขาเผ่าขมุ-ละว้า-ถิ่น เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2517
  • Suriya Ratanakul, 1977 “A Study of the Thin: a Mon-Khmer linguistic community in Thailand”, โรเนียว 25 หน้า เป็นบทความแสดงที่ Symposium on Researches in Philosophy, March 24-26, 1977 at the Faculty of Education, Chulalongkorn University under the auspices of the National Research Council of Thailand (The Philosophy Division)
  • สุริยา รัตนกุล, พ.ศ. 2520 “การวิจัยทางภาษาศาสตร์เรื่อง รวบรวมคำภาษาละว้า”, โรเนียว 40 หน้า เป็นบทความแสดงที่การประชุมซิมโปเซียม สาขาปรัชญา จัดโดยสภาวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 24-26 มีนาคม พ.ศ. 2520 ณ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
  • สุริยา รัตนกุล, พ.ศ. 2520 “นานาภาษาในประเทศไทย”, โรเนียว 16 หน้า เป็นเอกสารเสนอในการสัมมนาเรื่องภาษาของชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย ณ ห้องประชุม จงจินต์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520
  • สุริยา รัตนกุล, พ.ศ. 2520 “ประเพณีที่น่าสนใจของชาวเขา”, โรเนียว 7 หน้า อ่านออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงในรายการปริทรรศน์วัฒนธรรมไทย เสนอโดยธนาคารกรุงเทพ เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2520 เวลา 19.30 น.
  • Suriya Ratanakul, 1977 (พ.ศ. 2520) “Aspects of Linguistic Features in Minority Languages”, โรเนียว 12 หน้า เป็นบทความเสนอในที่ประชุม The Regional Seminar on Language Education in Multilingual Societies: Its Challenges and Potentials, Singapore, 18-22 April, 1977
  • สุริยา รัตนกุล, พ.ศ. 2521 “เพลงกะเหรี่ยง”, โรเนียว 61 หน้า เอกสารเสนอในการสัมมนาเรื่อง “การศึกษาวิจัยภาษาในประเทศไทย” ณ ห้องประชุมจงจินต์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521
  • สุริยา รัตนกุล, พ.ศ. 2537 ผลงานตำราเรื่อง นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์ ภาคที่ 1 ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก และตระกูลจีน–ทิเบต พิมพ์ที่บริษัทสหธรรมิก จำกัด 390 หน้า (เป็นการพิมพ์ครั้งที่สอง โดยชำระเพิ่มเติม ข้อมูลให้ทันสมัยจากที่พิมพ์ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2531)
  • Suriya Ratanakul, ค.ศ.1990 (พ.ศ. 2533) Tai Peoples and Their Languages : A Preliminary Consideration ลงพิมพ์ในตำราเรื่อง Development, Modernization and Tradition in Southeast Asia : Lessons from Thailand ซึ่งเป็นตำราที่มี Pinit Ratanakul and U. Kyaw Than เป็นบรรณาธิการ Rumthai Press, 280 หน้า ผลงานของสุริยา รัตนกุล อยู่ในหน้า 49–111 ผลงานตำรานี้เคยใช้สอนคณาจารย์ชาวอเมริกันที่ได้รับทุน Fulbright-Hays จำนวน 15 คนที่มารับการอบรมที่มหาวิทยาลัยมหิดลในพ.ศ. 2531
  • สุริยา รัตนกุล และลักขณา ดาวรัตนหงษ์ พ.ศ. 2529 พจนานุกรมภาษาละว้า–ไทย พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์, 421 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล และลักขณา ดาวรัตนหงษ์ พ.ศ. 2530 พจนานุกรมภาษาไทย–ละว้า พิมพ์ที่ โรงพิมพ์สยามรัฐ, 501 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล วิรัช นิยมธรรม และโสภนา ศรีจำปา พ.ศ. 2529 พจนานุกรมภาษาไทย–กะเหรี่ยงสะกอ (Thai–Sgaw Karen Dictionary) โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, 2 เล่มจบ, รวมทั้งหมด 1,277 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล และลักขณา ดาวรัตนหงษ์ พ.ศ. 2531 อาหารแสลงโรคและบริโภคนิสัยของชาวกะเหรี่ยงสะกอ บริษัทปิ่นเกล้าการพิมพ์จำกัด, 92 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2525 “การศึกษาภาษาไทยในสมัยก่อน” ผลงานวิจัยเอกสาร ลงพิมพ์เผยแพร่ใน วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2525 หน้า 1 – 27
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2526 “มหาเถรศรีศรัทธาวีรบุรุษอีกองค์หนึ่งในสมัยสุโขทัย” ผลงานวิจัยเอกสาร ลงพิมพ์เผยแพร่ใน วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2526 หน้า 37 – 57
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2527 “ละว้า และ ลัวะ” ผลงานวิจัยเอกสารและวิจัยภาคสนาม ลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2527 หน้า 56 – 78
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2528 “ภาษาไทกลุ่มเหนือและภาษาไทกลุ่มกลาง” ผลงานวิจัยเอกสาร ลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2528 หน้า 28 – 54
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2529 “วิเคราะห์คำว่า t? ในภาษากะเหรี่ยงสะกอ” ผลงานวิจัยเอกสาร ลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2529 หน้า 1 – 35
  • Suriya Ratanakul, 1981 (พ.ศ. 2524) “Sgaw Karen Color Categories” ผลงานวิจัยภาคสนาม เสนอในที่ประชุม the Eleventh Internation Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics, University of Arizona, October 20-22, 1978 แล้วได้ปรับปรุงลงพิมพ์เผยแพร่ใน Journal of the Siam Society Volume 69, 1981, หน้า 138 – 144
  • Suriya Ratanakul ค.ศ. 1981 (พ.ศ. 2524) “Transitivity and causation in Sgaw Karen” ผลงานวิจัยภาคสนาม เสนอในที่ประชุม the Thirteenth International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics, University of Virginia, October 24-26, 1980 แล้วได้ปรับปรุงลงพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือชื่อ Linguistics Across Continents : Studies in Honor of Richard S. Pittman edited by Andrew Gonzalez and David Thomas, Manila, 1981, หน้า 156 – 179
  • Suriya Ratanakul, 1983 (พ.ศ. 2526) “Three Copulative verbs in Sgaw Karen” ผลงานวิจัยภาคสนาม ลงพิมพ์เผยแพร่ใน Computational Analyses of Asian & African Languages, No.21, February, 1983, หน้า 93 – 108
  • Suriya Ratanakul, 1984 (พ.ศ. 2527) “A Prolegomena on Traditional Wisdom in Karen Folklore” ผลงานวิจัยภาคสนาม เสนอที่ประชุม the International Symposium on Southeast Asian Folklore, Krogerup College, Humlebaek, Denmark, August 23-26, 1982 และได้แก้ไขปรับปรุงลงพิมพ์เผยแพร่ใน Journal of the Siam Society Volume 72, 1984, หน้า 1 – 13
  • Suriya Ratanakul, 1985 (พ.ศ. 2528) “The Lawa L?s ?m L? Poetry” ผลงานวิจัยภาคสนาม ลงพิมพ์เผยแพร่ใน Journal of the Siam Society Volume 73, 1985, หน้า 183 – 204
  • Suriya Ratanakul, 1986 (พ.ศ. 2529) “A Study of Compound Nouns in Lawa, White Meo and Sgaw Karen” ผลงานวิจัยภาคสนาม ลงพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือชื่อ Language in Global Perspective, Papers in Honor of the 50th Anniversary of the Summer Institute of Linguistics (1935–1985), Copyright 1986 by the Summer Institute of Linguistics, Dallas, Texas, หน้า 549–556
  • Suriya Ratanakul and Lakhana Dao Ratanahongse, 1985 (พ.ศ. 2529) “The Phonology of Lawa” ผลงานวิจัยภาคสนาม ลงพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือชื่อ Southeast Asian Linguistic Studies presented to Andr?-G. Haudricourt edited by Suriya Ratanakul, David Thomas and Suwilai Premsrirat, Mahidol University, Bangkok,1985, หน้า 264–309
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2544, หนังสือเรื่อง อรรถศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to Semantics) ผลงานตำราสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2544, 365 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2543, หนังสือเรื่อง อารยธรรมตะวันตก ภาคที่ 1 ผลงานตำราวิทยาลัย ศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2543, 317 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2544, หนังสือเรื่อง อารยธรรมตะวันตก: อารยธรรมโรมัน ผลงานตำราวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2544, 235 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2545, Fundamental English : The Twelve Verb-Tenses ผลงานตำราวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2545, 182 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2545, หนังสือเรื่อง อารยธรรมตะวันตก: อารยธรรมยุคกลาง ผลงานตำราวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2545, 208 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2545, หนังสือเรื่อง อารยธรรมตะวันออก: อารยธรรมจีน ภาคแรก ผลงานตำราวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2545, 178 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2546, หนังสือเรื่อง อารยธรรมตะวันออก: อารยธรรมอินเดีย ผลงานตำราวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2546, 228 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2547, หนังสือเรื่อง อารยธรรมตะวันออก: อารยธรรมจีน ภาคที่สอง ผลงานตำราวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2547, 219 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2547, หนังสือเรื่อง พิธีกรรมในศาสนา เล่ม 1 ผลงานตำราวิทยาลัย ศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2549, 299 หน้า
  • สุริยา รัตนกุล พ.ศ. 2549, หนังสือเรื่อง พิธีกรรมในศาสนา เล่ม 2 ผลงานตำราวิทยาลัย ศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2551, 342 หน้า

รางวัลที่ได้รับจากการวิจัย

  • ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยมในการทำวิจัยเรื่องพจนานุกรมไทย-แม้ว(ม้ง)และพจนานุกรมอังกฤษ-แม้ว จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2519
  • ได้รับคัดเลือกจากสภาวิจัยแห่งชาติเป็นนักวิจัยดีเด่นด้านสังคมศาสตร์ พ.ศ. 2520
  • เป็น Fulbright Visiting Professor ที่มหาวิทยาลัย Eastern Washington และมหาวิทยาลัยOregon สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2529-2530
  • เป็นผู้รวบรวมพจนานุกรมไทย-กะเหรี่ยงสะกอ, พจนานุกรมไทย-ละว้า, พจนานุกรมละว้า-ไทย, พจนานุกรมไทย-ม้งขาว
  • ได้รับพระราชทานจตุตถจุลจอมเกล้า พ.ศ. 2521
  • ได้รับพระราชทานตติยจุลจอมเกล้า พ.ศ. 2523
  • ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้า พ.ศ. 2534
  • ได้รับพระราชทานมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ. 2543
  • ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ในสาขาวิชาภาษาศาสตร์ ในพ.ศ. 2546