ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์

ตำแหน่งวิชาการ :

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ

อีเมล :

suwilai.pre@mahidol.ac.th

ติดต่อ :

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท์ : 0-2800-2323 ต่อ 3301 โทรสาร : 0-2800-233

Website :

ประวัติการศึกษา

  • 2511 อักษรศาสตร์บัณฑิต (อังกฤษ, ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2517 อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (อังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2525 Ph.D. (ภาษาศาสตร์) Monash University, Melbourne, Australia

ประวัติการทำงาน

ตำแหน่งในปัจจุบัน

  • ประธานศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อาจารย์ประจำหลักสูตรภาษาศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • คณะอนุกรรมการดำเนินงานศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • คณะทำงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นสื่อ (แบบทวิภาษา) ของกระทรวงศึกษาธิการ
  • คณะกรรมการและ Series Editor วารสารวิชาการนานาชาติ Mon-Khmer Studies: A Journal of Southeast Asian Linguistics and Languages
  • คณะกรรมการมาตรฐานวิชาการและกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิจัย / คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ (Peer Review) ในวารสารวิชาการของมหาวิทยาลัยต่างๆ
  • เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านภาษา Language Advisory Committee องค์การ UNESCO

ตำแหน่งในอดีต

  • 2544-2548 ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2540-2544 ประธานหลักสูตรภาษาศาสตร์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล

รางวัลที่ได้รับ

  • พ.ศ.2551 รางวัล Comite International Permanent des Linguistes (CIPL prize) “Winner of The Endangered Language Award – 2008”
  • พ.ศ.2549 รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา”
  • พ.ศ.2544 รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล “ผลงานดีเด่น สาขาการวิจัย”

ผลงานวิจัยการศึกษาวิจัยภาษาและชาติพันธ์ุในเอเซียอาคเนย์ (ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา)

ผลงานวิจัยภาษาไทย

  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2551. การจัดการศึกษาแบบทวิภาษา(ภาษามลายูถิ่น- ภาษาไทย) สำหรับเยาวชนไทยมุสลิมในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารเพื่อการพัฒนาพื้นที่.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (ยังไม่ได้ตีพิมพ์)
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2551. ภาษา ชาติพันธุ์ และการศึกษาแนวชายแดนไทย – กัมพูชา. การประชุมวิชาการ เรื่อง “แผนที่วัฒนธรรม: เครื่องมือสร้างความสัมพันธ์ชายแดน” วันที่ 13-14 มีนาคม 2551. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2550. แนวทางการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมทางภาษา : การสร้างระบบเขียนสำหรับภาษาชาติพันธ์ในประเทศไทย . นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.(ยังไม่ได้ตีพิมพ์)
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2550. แผนที่ภาษาชาติพันธุ์ในประเทศไทย : กรณีภาษาชาติพันธุ์ในภาคเหนือ. การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมในประเทศไทยเพื่อจัดทำแผนที่วัฒนธรรม: ภาคเหนือ”.28 กันยายน 2550. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2550. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ: กรณีการจัดการศึกษาแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2549. สถานการณ์ทางภาษาในสังคมไทยกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2549. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2549. นวัตกรรมใหม่ของการศึกษาไทย : การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาชาติพันธุ์ (ภาษาแม่) เป็นสื่อ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2549. ความหลากหลายของภาษาและชาติพันธุ์ในประเทศไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2548. วิกฤตทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ : ปัญหาหรือโอกาส. ภาษาและวัฒนธรรม. 24(1): 5-17. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2547. ความหลากหลายของภาษาและชาติพันธุ์ : ทรัพยากรล้ำค่าหรือปัญหาที่แก้ไม่ตก. ภาษาและวัฒนธรรม. 23(2): 15-24. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2547. การสร้างความรู้ด้านภาษาแก่คนในท้องถิ่น. บทความในการบรรยายทางวิชาการเรื่อง “งานวิจัยเชิงบูรณาการทางมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น”. 23 มิถุนายน 254. นครปฐม: คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2546. การวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา. การประชุมทางวิชาการเรื่อง “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: บทบาทในการพัฒนาสังคมไทย”. 17-18 กรกฎาคม 2546. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2546. ความหลากหลายของภาษาและชาติพันธุ์: ทรัพยากรล้ำค่าหรือปัญหาที่แก้ไม่ตก. บทความเสนอในการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 2 “ชาติและชาติพันธุ์ วิถีชีวิตและความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน.” 26-28 มีนาคม 2546, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพมหานคร.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2544. ภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต. รวมบทความวิชาการภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. หน้า 21-37. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2543. พัฒนาระบบเขียนภาษาชอง. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 19.2: 5-18. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2542. ภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคกลาง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม 10, หน้า 4699-4707. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2542. ภาษาและชาติพันธุ์ในเขตที่ราบสูงโคราช. สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย. หน้า 267-284. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2541. พัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน กรณีภาษาเขมรถิ่นไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2541. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ขมุ. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2534. ข้อสังเกตเกี่ยวกับปัญหาในการเรียกชื่อกลุ่มชนต่างๆ. ภาษาจารึก. ฉบับพิเศษเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2534. การพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน. วารสารนิเทศศาสตร์ 12.1:72-84.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2533. วิธีป้องกันและรักษาโรคแบบพื้นบ้านชาวขมุ และสนทนาสาธารณสุขการแพทย์ไทย-ขมุ. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2533. พจนานุกรมขมุ-ไทย-อังกฤษ. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2532. สนทนาสาธารณสุขและการแพทย์ลัวะ-ปรัย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2531. ชีวิตชาวขมุจาก 50 บทสนทนา. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2531. สนทนาสาธารณสุขลัวะ-ปรัย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2530. สื่อภาษา: ภาษากับชุมชน. วารสารนิเทศศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับภาคการศึกษาต้น หน้า 33-38.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2529. โลกทัศน์ในภาษาขมุ. วารสารธรรมศาสตร์ 15.1: 94-113.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2529. ชุมชนหลายภาษาที่บ้านเมืองลีง. ภาษาและวัฒนธรรม 6.2: 11-35. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์, จิญ เสี่ยว ถิ่น และ มยุรี ถาวรพัฒน์. 2541. ศัพทานุกรมภาษาเวียดนาม-ไทย-อังกฤษ. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2549. ประสบการณ์การฟื้นฟูภาษาในประเทศไทย: กรณีภาษาชอง จังหวัดจันทบุรี. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2548. สรุปการสัมมนาเรื่อง “วิกฤตทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ : ปัญหาหรือโอกาส?” นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2547. แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2545. แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2545 หน้า 5-35. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2540. แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. ภาษาและวัฒนธรรม 16.2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2540): 5-14. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2538. คู่มือการอ่าน-เขียนภาษาเขมรถิ่นไทย. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2538. ซำนูนโวหาร ซุพาซิด ซอนเจ็ด โวหาร สำนวนสุภาษิตสอนใจ. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2538. นิทานพื้นบ้านเขมร. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2538. น็อง เทอ ยาง นา เจีย ทำอย่างไรดี คู่มือปฐมพยาบาล ฉบับภาษาเขมรถิ่นไทยและภาษาไทย. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2538. เฮาปลึง การสู่ขวัญ. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. 2531. ภาษาศาสตร์เชิงสังคม แปลจาก Sociolinguistic: An Introduction by Peter Trudgill. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ, 2531.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ มยุรี ถาวรพัฒน์ (บรรณาธิการ). 2541. นิทานเวียดนาม. แปลเป็นภาษาไทยโดย จิญ เสี่ยว ถิ่น. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ พาน สุขลำ. 2538. จ็อฮ ป็วฮ เรียะ อัจ ปึงกัร บาน เตอ โรค ท้องร่วงสามารถป้องกันได้. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ พาน สุขพลำ. 2534. พิธีไหว้พระจันทร์วันเพ็ญเดือนสิบสองของคนไทยเชื้อสายเขมร. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 10.2: 47-64.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. และสุขุมาวดี ขำหิรัญ. 2527. ชื่อหมู่บ้านของอำเภอเมืองสุรินทร์. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และโสภนา ศรีจำปา. 2533. การพัฒนาระบบตัวเขียนภาษาเขมรถิ่นไทย. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ อรวรรณ ภูอิสระกิจ. 2539. ลักษณะและการกระจายของภาษาเขมรถิ่นไทย อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของพยัญชนะสะกด. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • สุริยา รัตนกุล, สุวิไล เปรมศรีรัตน์, ลักขณา ดาวรัตนหงษ์ และวชิราภรณ์ วรรณดี. 2544. สถานภาพชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • อภิญญา บัวสรวง และ สุวิไล เปรมศรีรัตน์. 2541. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ญัฮกุ้ร. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานวิจัยภาษาอังกฤษ

  • Suwilai Premsrirat. 2008. Language for National Reconciliation : A Role for Patani Malayin Formal Education in Thailand’s Deep South. Save The Children***
  • Suwilai Premsrirat. 2008. Language for National Reconciliation : A Role for Patani Malay in Formal Education in Thailand’s Deep South. Paper present to “Second International Conference on Language Development, Language Revitalization and Multilingual Education in Ethnolinguistic Communities,” on 1-3 July 2008. Twin Towers Hotel. Bangkok. Thailand
  • Suwilai Premsrirat. 2008. Ethnic Minority Language: An Urgent Call for Action. Paper present to The International Conference on”National Language Policy: Language Diversity for National Unity” on 4-5 July 2008. Twin Towers Hotel. Bangkok. Thailand
  • Suwilai Premsrirat. 2008. Language for National Reconciliation: A Role for Patani Malay in Formal Education in Thailand’s Deep South. Paper present on March 14 2008 at “2008 LIROD International Conference”. The Thai chamber University. Thailand.
  • Suwilai Premsrirat. 2007. Language for National Reconciliation : Planning Mother Tongue- Based Bilingual Education for Muslim Malay Speaking Children in Thailand’s Deep South. Paper present at May 2007 at SSEASR International Conference. Mahidol University. Thailand.
  • Suwilai Premsrirat. 2007. Language Rights and ” Thainess ” : Mother-tongue- based Bilingual Education is the Key. Cape Town. South Africa.
  • Suwilai Premsrirat. 2007. Endangered Languages of Thailand. International Journal of Sociology of Language 186(2007) : 75-93.
  • Suwilai Premsrirat. 2007. Revitalization Ethnic Minority Language. SangSaeng Magazine
  • Suwilai Premsrirat. 2006. Thailand: Language Situation. Encyclopedia of Language and Linguistics. 2nd Edition. Edited by Keith Brown. Oxford: Elsevier.
  • Suwilai Premsrirat. 2005. Approaches to Language and Education policy in Asia and the Pacific. Paper presented at Seminar cum “Workshop on Multilingual Education for Bangladesh’s Language Communities”. 5-7 June 2005. Dhaka. Bangladesh.
  • Suwilai Premsrirat. 2005. SIL’s role in Language development language revitalization and multilingual education. (A Partner’s View). Paper presented at “SIL international’s triennial International Conference” in Chiang Mai. 2 May 2005. Chiang Mai. Thailand.
  • Suwilai Premsrirat. 2005. What is involved in developing writing system for a previously unwritten language? : Developing Chong writing system. Paper presented at Seminar cum “Workshop on Multilingual Education for Bangladesh’s Language Communities”. 5-7 June 2005. Dhaka. Bangladesh.
  • Suwilai Premsrirat. 2004. Register complex and tonogenesis in Khmu dialects. MKS 34:1-17.
  • Suwilai Premsrirat. 2004. The maintenance and loss of linguistic and cultural diversity among ethnic minorities in SEA. Paper presented at “the International Conference on Impact of Globalization. Regionalism and Nationalism on Minority Peoples in Southeast Asia”. 15-17 November 2004. Chiang Mai. Thailand.
  • Suwilai Premsrirat. 2004. Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia. Paper presented at “the Lexicography Conference”. Payap University. 24-26 May 2004. Chaing Mai. Thailand.
  • Suwilai Premsrirat. 2004. Language Endangerment and Language Revitalization in Thailand : A Case Study of Chong. Endangered Languages of the Pacific Rim. pp.169-179. Lectures on “Endangered Languages: 4-From Kyoto Conference 2001”. 30 November – 2 December 2001. Kyoto. Japan.\
  • Suwilai Premsrirat. 2002. Khmu dialects: a case of register complex and tonogenesis. Paper presented at “the International Symposium Cross-linguistic Studies of Tonal Phenomena” . The Research Institute for Languages and Cultures of Asia and Africa (ILCAA). Tokyo Univ. of Foreign Studies. December 17-19. 2002.
  • Suwilai Premsrirat. 2002. The Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia. Mon-Khmer Studies-Mahidol University Special Publication No. 1
  • Volume 1. Thesaurus of Khmu Dialects in Southeast Asia
  • Volume 2. Dictionary of Khmu in China
  • Volume 3. Dictionary of Khmu in Laos
  • Volume 4. Dictionary of Khmu in Vietnam
  • Volume 5. Dictionary of Khmu in Thailand
  • Suwilai Premsrirat. 2002. Appropriateness in Khmu Culture. MKS 32:117-129.
  • Suwilai Premsrirat. 2002. Report on the Chong Revitalization Workshops. MKS 32:175-179.
  • Suwilai Premsrirat _. 2001. Tonogenesis in Khmu dialects of SEA. MKS 31:47-56.
  • Suwilai Premsrirat. 2001. The future of Nyah Kur. In Robert S. Bauer, ed. Collected Papers on “Southeast Asian and Pacific Linguistics”. pp. 155-165. Canberra: The Australian National University.
  • Suwilai Premsrirat. 2000. So (Thavung) Dictionary. University of Melbourne Press.
  • Suwilai Premsrirat. 1999. Phonological variation and change in the Khmu dialects of northern Thailand. MKS 29:57-69.
  • Suwilai Premsrirat. 1998. Language maintenance and language shift in minority languages of Thailand. In Studies in Endangered Languages. Papers from “the International Symposium on Endangered Languages”. Tokyo. November 18-20 1995. ed. Kazuto Matsumura
  • Suwilai Premsrirat. 1997. Linguistic contributions to the study of the Northern Khmer Language of Thailand in the last two decades. MKS 27:129-136.
  • Suwilai Premsrirat. 1996. Phonological characteristics of So (Thavung), a Vietic language of Thailand. MKS 26:161-178.
  • Suwilai Premsrirat. 1996. Language and ethnicity in the Korat plateau. “The Dry Areas in Southeast Asia: Harsh or Benign Environment?”. Papers presented at Kyoto-Thammasat Core University Seminar”. Kyoto. 21-23 October 1996.
  • Suwilai Premsrirat. 1994. Phonetic variation of final trill and final palatals in Khmer dialects of Thailand. MKS 24:1-26.
  • Suwilai Premsrirat (reviewer). 1994. Damrong Tayanin and Kristina Lindell, Hunting and Fishing in a Kammu Village. MKS 23:139-143.
  • Suwilai Premsrirat. 1992. The Khmu colour system and its elaborations. MKS 21:131-142.
  • Suwilai Premsrirat. 1991. Aspects of inter-clausal relations in Khmu. In”Austroasiatic Language: Essays in Honor of Professor Harry Shorto”. School of Oriental and African Studies. London Universit. London. U.K.
  • Suwilai Premsrirat. 1989. Khmu: A Minority Language of Thailand (including “A Khmu grammar” and “A study of Thai and Khmu cutting words”). Pacific Linguistics Series A 75. Canberra: The Australian National University.
  • Suwilai Premsrirat. 1987. Khmu, a minority language of Thailand. MKS 18-19:262-272.
  • Suwilai Premsrirat and Dennis Malone. 2006. “Language development and language revitalization in Asia.” MKS 35:101-120.
  • Suwilai Premsrirat et al. 2004. “Ethnolinguistic mapping of Thailand and on going language revitalization programs” in Putting Cultural Diversity into Practice: Some Innovative Tools. Asia-Pacific Regional Training Workshop on Culture Mapping and Cultural Diversity Programming Lens to Safeguard Tangible and Intangible Cultural Expressions and Project Cultural Diversity. Training for Asia-Pacific Field Personnel. 15-18 November 2004. UNESCO. Bangkok. Thailand
  • Suwilai Premsrirat and others. 2001. Using GIS for displaying ethnolinguistic maps of Thailand. “Southeast Asian Linguistics Conference SEALS XI Proceeding (keynote speech)”. Bangkok.16-18 May 2001.
  • Suwilai Premsrirat, Mayuree Thawornpat, Lo Von Tuan, and Trinh Dieu Thin. 1998. Nghe An Khmu-Vietnamese-Thai-English Dictinary. Institute of Language and Culture for Rural Development. Mahidol University.
  • Suwilai Premsrirat and Wandee Warawat. 1986. Language and diarrheal diseases. (Examples drawn from Thai dialects, Khmu, Northern Khmer, Kuj, Karen and Pattani Malay) Journal of Medical Asociation. Thailand.
  • Keun Singkhanipa, David Thomas and Suwilai Premsrirat. 1985. Northern Khmer Conversational Lessons. (Northern Khmer, Thai, English).

ผลงานเด่น

ผลงานเด่น ที่ศาสตราจารย์ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการ และดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานและชุมชนต่างๆ โดยบูรณาการศาสตร์ทางภาษากับศาสตร์อื่นๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการศึกษาวิจัยภาษาและชาติพันธุ์ สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ และพัฒนาสังคม มีดังต่อไปนี้

  • แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย (Ethnolinguistic Mapping of Thailand)
              ศึกษาและสำรวจภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ สร้างฐานข้อมูลด้านภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย และแผนที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเชื้อสายและเชิงสังคม พร้อมทั้งการกระจายของกลุ่มชาติพันธุ์ภาษาในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ นำไปใช้ในการกำหนดนโยบายและการวางแผนการทำงานในพื้นที่ ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และการวิจัยเชิงลึกต่อไป
  • ชุดอภิธานคำศัพท์พจนานุกรมภาษาขมุในเอเชียอาคเนย์ (Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia)
              ศึกษาภาษาพูดกลุ่มชาติพันธุ์ขมุ ซึ่งกระจายตัวอยู่ทางตอนเหนือของเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ประเทศไทย ลาว เวียดนาม และจีน โดยศึกษาผ่านระบบคำศัพท์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นระบบคิด วิถีชีวิตและวิวัฒนาการ การเกิดระบบวรรณยุกต์ของภาษาในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
  • การศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต (Documentation and Revitalization of Endangered Languages and Cultures)
              ศึกษา สำรวจ และบันทึกภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนต่างๆ ก่อนที่จะสูญสลายไป รวมทั้งร่วมมือกับชุมชนชาติพันธุ์ที่ยังมีศักยภาพ เพื่อฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์โดยผ่านกระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาภาษา เช่นการสร้างหรือพัฒนาระบบตัวเขียน วรรณกรรมท้องถิ่น และนำเข้าไปสู้ระบบการศึกษาชุมชน ซึ่งเป็นฐานในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต และยังเป็นการสงวนรักษาความหลากหลายของอัตลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรม โดยร่วมงานกับชุมชนต่างๆ

งานวิจัยที่กำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการ

  • โครงการวิจัยปฏิบัติการ ” การจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษาโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ: กรณีการจัดการศึกษาระบบทวิภาษา(ภาษาไทย- ภาษามลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้”
    (ทุนจากองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมหาวิทยาลัยมหิดล – หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ดำเนินการโดยนักวิจัยชาวบ้าน ” การศึกษาฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤตเพื่อการพัฒนาชุมชน “
    (ทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย – ผู้ประสานงาน)
  • โครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ดำเนินการโดยนักวิชาการในพื้นที่และนักวิจัยชาวบ้าน “การพัฒนาภาษาและการวางแผนการใช้ภาษามลายูถิ่น (มลายูปาตานี) เพื่อการศึกษา และพัฒนาชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้”
    (ทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย – ผู้ประสานงาน)
  • โครงการวิจัย “ภาษามลายูท้องถิ่นในประเทศไทย: การศึกษาสถานการณ์ทางภาษา การพัฒนา และการวางแผน การใช้ภาษา เพื่อการศึกษาและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
    (ทุนสนับสนุนจากศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี (ศพส.) มหาวิทยาลัยมหิดล – หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการวิจัย “แผนที่วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดชายแดนไทย-กัมพูชา: เครื่องมือในการจัดการปัญหาชายแดน” (ทุนจากงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยมหิดล – ผู้ร่วมวิจัย)
  • โครงการวิจัยเพื่อ “การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย (เป็นภาษาที่สอง) สำหรับโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ (Teaching Thai as a Second Language in Schools for Ethnic Minority Children)” ร่วมกับสภาการศึกษาแห่งชาติ (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการวิจัยเพื่อจัดทำ “นโยบายภาษาแห่งชาติ” (National Language Policy of Thailand) ร่วมกับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ (ผู้ร่วมโครงการ)