หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

หน้าแรก > การศึกษา > หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา > ปริญญาเอก พหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)


Course description


The Ph.D. Program in Multicultural Studies offers a comprehensive curriculum exploring issues of ethno-cultural diversity, majority-minority relations, culture and citizenship which result in the unequal power structure in the society, particularly in the context of Southeast Asia, China and India. Students in the program explore issues of social discrimination and exclusion faced by ethnic minorities, migrants and refugees.

Course Highlights
  • The program is designed to enrich a cross-cultural learning environment and facilitate constructive dialogues among students from various cultural and professional backgrounds.
  • Our students will benefit by deepening their knowledge on cultural diversity and enhancing their skills in carrying out advanced social research.

ค่าใช้จ่ายในการศึกษา (เหมาจ่าย)

ชำระต่อภาคการศึกษา (บาท)


ภาคปกติ : 60,000 บาท

หมายเหตุ : จัดเก็บค่าใช้จ่ายในอัตราเดียวกันทุกแผนการศึกษา ทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศ

อาชีพที่เกี่ยวข้อง


  1. ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม
  2. นักวิจัยด้านความหลากหลายทางวัฒนธรรม
  3. นักวิชาการด้านวัฒนธรรม
  4. นักวิเคราะห์นโยบายและแผนด้านวัฒนธรรม
  5. นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน
  6. นักพัฒนาสังคม

โครงสร้างหลักสูตร


ชั้นปีที่แบบ 1.1แบบ 2.1แบบ 2.2
1ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1
ศึกษารายวิชาตามความสนใจโดยความเห็นชอบ ของอาจารย์ที่ปรึกษา แบบไม่นับหน่วยกิต การเตรียมการสอบวัดคุณสมบัติและโครงการวิจัยวภวธ 510 แนวคิดหลักทางด้าน วัฒนธรรมศึกษาวภวธ 510 แนวคิดหลักทางด้าน วัฒนธรรมศึกษา
วภพศ 601 แนวคิด ทฤษฎีหลักด้านพหุวัฒนธรรมศึกษาวภพศ 601 แนวคิด ทฤษฎีหลักด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา
วภพศ 602 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยพหุวัฒนธรรมศึกษาวภพศ 602 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยพหุวัฒนธรรมศึกษา
วิชาเลือก
ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2
สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)วภพศ 603 สัมมนาประเด็นรวมสมัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษาวภพศ 603 สัมมนาประเด็นรวมสมัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา
วภพศ 698 วิทยานิพนธ์วิชาเลือกวภพศ 604 การสร้างกรอบความคิดการวิจัยทางด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา
วิชาเลือก
2ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1
วภพศ 898 วิทยานิพนธ์สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)วิชาเลือก
วภพศ 699 วิทยานิพนธ์
ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2
วภพศ 898 วิทยานิพนธ์วภพศ 699 วิทยานิพนธ์สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

วภพศ 799 วิทยานิพนธ์

3ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1
วภพศ 898 วิทยานิพนธ์วภพศ 699 วิทยานิพนธ์วภพศ 799 วิทยานิพนธ์
ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2
วภพศ 898 วิทยานิพนธ์วภพศ 699 วิทยานิพนธ์วภพศ 799 วิทยานิพนธ์
4ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 1
วภพศ 799 วิทยานิพนธ์
ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 2
วภพศ 799 วิทยานิพนธ์

การสมัคร


การรับเข้าศึกษา

ช่วงเวลาการเปิดรับสมัคร

ประกาศรับสมัครและกำหนดการ

เกณฑ์การสมัคร

  1. IELTS 3.0
  2. TOEFL-iBT 32
  3. MU GRAD PLUS (MU GRAD TEST + SPEAKING) 40
  4. MU GRAD TEST 40

*An applicant without the above-mentioned qualifications may be taken into consideration by the Program Committee in conjunction with the Faculty of Graduate Studies.

แบบ 1.1 ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทแบบ 2.1 ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทแบบ 2.2 ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
  1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาสังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
  2. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50
  3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนด
  4. เป็นผู้มีผลงานตีพิมพ์เป็นชื่อแรกหรือเป็นผู้วิจัยหลักในบทความที่เกี่ยวข้องด้านพหุวัฒนธรรมที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน(peer review) ไม่เกิน 5 ปีจำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน
  5. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาสังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
  2. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50
  3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลกำหนด
  4. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาสังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
  2. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับเกียรตินิยม
  3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลกำหนด
  4. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

เอกสารที่ใช้สมัคร

ข้อมูลติดต่อ


ประธานหลักสูตร (Program Director)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติมดี อาพัทธนานนท์
Email : thithimadee.art@mahidol.ac.th